"Prime minister's office announcement on improving the Thai script" is dated May 29, 1942, and was published in the Royal Gazette on June 1, 1942. It outlines the new spelling rules, and bears the name of Field Marshal Plaek Phibunsongkhram. You can see the scan of the original document in PDF format on the Royal Gazette website.
I'll post a translation another time. For now, I've color-coded the text, because I think it makes for an interesting way of visually absorbing the announcement all at once.
Black = words not affected by the reform
Red = words affected by the reform
Blue = words not affected by the reform, but whose spelling has changed since 1942
Green = the letter ญ, the only letter actually altered by the reform (green because there's no simple way to take away the base and have it display correctly for most people)
Purple = words that should be in red, but force of habit caused the typist to "misspell" them (i.e. spell them the pre-reform way)
ประกาสสำนักนายกรัถมนตรี เรื่องการปรับปรุงตัวอักสรไทย
ด้วยรัถบาลพิจารนาเห็นว่า ภาสาไทยย่อมเป็นเครื่องหมายสแดงวัธนธรรมของชาติไทย สมควนได้รับการบำรุงส่งเสิมไห้แพร่หลายออกไปกว้างขวางยิ่งขึ้น ไห้สมกับความจเรินก้าวหน้าของชาติ ซึ่งกำลังขยายตัวออกไปไนปัจจุบัน เพราะฉะนั้นจึงได้ตั้งกรรมการส่งเสิมวัธนธรรมภาสาไทยขึ้นคนะหนึ่ง ดังมีรายชื่อแจ้งอยู่ในประกาสตั้งกรรมการส่งเสิมวัธนธรรมภาสาไทยนั้นแล้ว เพื่อร่วมกันพิจารนาหาทางปรับปรุงและส่งเสิมภาสาไทยไห้มีความจเรินก้าวหน้ายิ่งขึ้น อันที่จริงภาสาไทยก็เป็นภาสาที่มีสำเนียงไพเราะสละสลวย และมีความกว้างขวางของภาสาสมกับเป็นสมบัติของชาติไทยที่มีวัธนธรรมสูงอยู่แล้ว ยังขาดอยู่ก็แต่การส่งเสิมไห้แพร่หลาย สมควนแก่ความสำคันของภาสาเท่านั้น
กรรมการส่งเสิมวัธนธรรมภาสาไทยได้มีการประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๓ พรึสภาคม ๒๔๘๕ มีความเห็นไนชั้นต้นว่า สมควนจะปรับปรุงตัวอักสรไทยไห้กระทัดรัด เพื่อได้เล่าเรียนกันได้ง่ายยิ่งขึ้น ได้พิจารนาเห็นว่า ตัวสระและพยัญชนะของภาสาไทยมีอยู่หลายตัวที่ซ้ำเสียงกันโดยไม่จำเป็น ถ้าได้งดไช้เสียบ้างก็จะเป็นความสดวกไนการสึกสาเล่าเรียนภาสาไทยไห้เป็นที่นิยมยิ่งขึ้น ตัวอักสรที่ควนงดไช้คือ--
สระ
สระ ใ, ฤ, ฤๅ, ฦ, ฦๅ รวม ๕ ตัวพยัญชนะ
พยัญชนะ ฃ, ฅ, ฆ, ฌ, ฎ, ฏ, ฐ, ฑ, ฒ, ณ, ศ, ษ, ฬ รวม ๑๓ ตัว ส่วน ญ (หญิง) ไห้คงไว้ แต่ไห้ตัดเชิงออกเสีย คงเป็นรูป ญ (ไม่มีเชิง)ดังนั้น อักสรที่จะไช้ไนภาสาไทยจะมีดังต่อไปนี้
สระ
ะ (อะ) ั (อั-) า (อา) ิ (อิ) ี (อี) ึ (อึ) ื (อื) ุ (อุ) ู (อู) เ-ะ (เอะ) เ (เอ) แ-ะ (แอะ) แ (แอ) โ-ะ (โอะ) โ (โอ) เ-าะ (เอาะ) -อ (ออ) -ัวะ (อัวะ) -ัว (อัว) เ-ียะ (เอียะ) เ-ีย (เอีย) เ-ือะ (เอือะ) เ-ือ (เอือ) เ-อะ (เออะ) เ-อ (เออ) เ-ิ (เอิ-) ไ (ไอ) เ-า (เอา) -ำ (อำ)พยัญชนะ
ก ข ค งจ ฉ ช ซ ญ
ด ต ถ ท ธ น
บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม
ย ร ล ว ส ห อ ฮ
เมื่อได้งดไช้พยัญชนะและสระบางตัวดังนี้แล้ว คนะกรรมการจึงได้วางหลักการเขียนหนังสือไทยไว้อย่างกว้าง ๆ ดังต่อไปนี้
คำที่เคยไช้สระ ใ (ไม้ม้วน) ไห้ไช้ ไ (ไม้มลาย) แทน
คำที่เคยไช้สระ ฤ ฤๅ ไห้ไช้ ร (เรือ) ประกอบสระตามกรนีที่ออกเสียงภาสาไทย เช่น
ฤ ไน พฤกษา ไช้ รึ เป็น พรึกสา
ฤ ไน ฤกษ์ ไช้ เริ เป็น เริกส์
ฤ ไน ฤทธิ์ ใช้ ริ เป็น ริทธิ์
ฤๅ ไช้ รือ
คำที่เคยไช้สระ ฦ ฦๅ ไห้ไช้ ล (ลิง) ประกอบสระตามกรนีที่ออกเสียงภาสาไทย เช่น ฦๅ ไช้ ลือ เป็นต้น
คำที่เคยไช้พยัญชนะ ฆ (ระฆัง) ไช้ ค (ควาย) แทน เช่น เฆี่ยน ฆ้อง ไช้ เคี่ยน ค้อง เป็นต้น
คำที่เคยไช้พยัญชนะ ฌ (เฌอ) ไช้ ช (ช้าง) แทน
คำที่เคยไช้พยัญชนะวรรค ฎ (ชฎา) ไห้ไช้พยัญชนะวรรค ด (เด็ก) แทน โดยลำดับ คือ
ฎ (ชฎา) ไห้ไช้ ด (เด็ก) เช่น ชดา
ฏ (ประฏัก) ไห้ไช้ ต (เต่า) เช่น ประตัก
ฐ (ฐาน) ไห้ไช้ ถ (ถุง) เช่น ฐาน ไห้ไช้ ถาน รัฐ ไห้ไช้ รัถ
ฑ (มณโฑ) ไนกรนีที่อ่านเป็นเสียง ด ไห้ไช้ ด (เด็ก) เช่น บันดิต ในกรนีที่อ่านเป็นเสียง ท ไห้ไช้ ท (ทหาน) เช่น ไพทูรย์
ฒ (ผู้เฒ่า) ไห้ไช้ ธ (ธง) เช่น เฒ่า ไห้ไช้ เธ่า วัฒนธรรม ไห้ไช้ วัธนธรรม
ณ (เณร) ไห้ไช้ น (หนู) เช่น ธรนี เป็นต้น คำที่เคยไช้พยัญชนะ ศ ษ ไห้ไช้ ส แทน
คำที่เคยไช้พยัญชนะ ศ ษ ไห้ไช้ ส แทน
คำที่เคยไช้ ฬ (จุฬา) ไห้ไช้ ล (ลิง) แทน
อนึ่ง คำที่มิได้มาจากบาลี-สันสกริต ไห้เขียนตามระเบียบคำไทย เช่น บรร (ร หัน) ไห้เขียน บัน, ควร ไห้เขียน ควน, เสริม ไห้เขียน เสิม, เจริญ ไห้เขียน จเริน สำคัญ ให้เขียน สำคัน, ทหาร ไห้เขียน ทหาน, กระทรวง ไห้เขียน กระซวง ฯ ล ฯ ดังจะได้ประกาสหลักเกนท์ลเอียดต่อไป
คนะรัถมนตรีได้พิจารนาหลักที่คนะกรรมการส่งเสิมวัธนธรรมภาสาไทยเสนอมาข้างต้นนี้ มีความเห็นชอบด้วย จึงลงมติเป็นเอกฉันท์ไห้ไช้สระและพยัญชนะไนภาสาไทยดังกล่าวนี้ ตั้งแต่วันที่ประกาสนี้เป็นต้นไป
ประกาส นะ วันที่ ๒๙ พรึสภาคม ๒๔๘๕
จอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายกรัถมนตรี
See also: Simplified Thai spelling during World War II
Rikker, would it be possible this spelling reform would have any association with the reforms we've seen in the Lao language ?
ReplyDeleteI don't know much about the history behind the Lao spelling reform, so I can't say. However, being as they're two decades apart and use quite different reform strategies, I doubt it.
ReplyDeleteDo you know of any sources for specific information about the reform? I've only ever seen references to "the 60s" as when it was enacted, but I know nothing in more detail than that (other than being able to examine the new spelling system).
I am currently reading the book "Creating Laos", which among other things also talks a bit on the spelling reforms. An interesting things to note is that the Lao spelling change from purely phonetic to a simplified ethymological spelling shortly before the Thai spelling reform. After both countries had reformed their spelling, it was extremely similar - which Lao nationalists saw as a Lao-ification of Thai, while Thai nationalists saw the pan-Tai connections, as Shan was also spelling similarly. However in the end of 1943, Lao changed back to the phonetic spelling. It seems the development of Lao spelling in the last century is even more interesting than that of Thai.
ReplyDeleteThat book sounds really interesting. I need to get my hands on a copy.
ReplyDeleteIf you can provide any more details about changes to the Lao language over the years, I'd appreciate it.
(By the way, I put in an ILL request for this article you said you wanted with my alma mater. I have "scholar abroad" status at the moment, so the library there will send me scans of articles if they can track down a copy. We'll see if they come through.)
It's only maybe 10 pages of the spelling and Lao alphabet issues, but it has a lot of references, so it will at least provide you with a good starting point to investigate more. At 25 Euro that book is relatively expensive - if you cannot find at the library (it's a very new book) I could also put the relevant pages on my scanner.
ReplyDeleteThanks for trying to get that paper for me, too bad the next university with Thai studies is a bit far from my home already, in fact that would be the one in Münster where the author of that paper works.